1.ในการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยท่านต้องศึกษาในเรื่องใดบ้าง
~ ครูกับแด็กต้องมีการวางแผนกัน คิดร่วมกัน ทำด้วยกัน ซึ่งต้องเป็นบรรยากาศที่มีลักษณะที่ร่วมมือกัน การวางแผนนั้นก็จะมีการวางแผนระยะยาว เพื่อที่จะวางกรอบความคิดกว้างๆ และการวางแผนระยะสั้นโดยที่ครูและเด็กใช้ความคิดพูดคุยปรึกษากันเพื่อหารายละเอียดและขั้นตอนในการทำกิจกรรม
~ นอกจากนี้การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยก็จะมี
~ การฟังและการพูด ก็คือ เด็กจะได้ยินเสียงพูด แม้ว่าเด็กยังพูดไม่ได้ เด็กก็จะเกิดการเรียนรู้ในการพูด นอกจากนี้แล้ว การพูดของพ่อแม่ต้องให้เหมาะสมกับเด็กด้วย นอกจากการพูดแล้วก็ยังบูรณาการกับการฟัง เพราะเวลาเราพด เด็กจะได้ยินได้ฟังไปด้วย ยิ่งได้ฟังมากก็ทำให้เรียนรู้ได้มาก
~ การอ่านและการเขียน การอ่านหนังสือให้เด็กฟังทุกๆวันเป็นสิ่งที่ดีและจำเป็นสำหรับเด็กเพื่อที่จะพัฒนาภาษาเขียน เนื้อหาที่อ่านนั้นต้องเป็นเรื่องใกล้ตัวเด็กเพื่อที่จะเป็นประโยชน์แก่เด็กเอง เพราะว่าเด็กจะมีประสบการณ์เดิมของเขาอยู่แล้ว
2.การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีวัตถุประสงค์อะไร
· เพื่อต้องให้เด็กเข้าใจในภาษาต่างๆที่ได้รับรู้เข้ามา
· เพื่อต้องการให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้ภาษาที่ถูกต้องอย่างชัดเจน
· เพื่อต้องการให้เด็กสามารถสื่อสารกับผู้ได้อย่างเข้าใจ
3.หลักการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยมีอะไรบ้าง
· ภาษาต้องประกอบด้วยทักษะ 4ด้านคือ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
· ครูต้องมีบทบาทที่ดีและเข้าใจถึงความแตกต่างของเด็กแต่ละคนในการใช้ภาษา
· เด็กที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นมากๆ จะมีโอกาสใช้ภาษาได้ดีขึ้น
4.ท่านมีแนวทางในการให้ความรู้กับผู้ปกครองเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาได้อย่างไร
1. ให้ผู้ปกครองเล่านิทานให้เด็กฟังทุกๆวัน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เพื่อได้สังเกตทักษะการฟังของเด็ก
2. ในแต่ละวันผู้ปกครองควรฝึกภาษาที่สองกับเด็ก โดยใช้สื่อที่เป็นบัตรคำ เพื่อได้ฝึกทักษะการอ่านเขียนของเด็ก
3. ผู้ปกครองควรร่วมกิจกรรมกับเด็กบ่อยๆ เพื่อได้สร้างความสัมพันธ์กันมากขึ้น เด็กจะได้มีกำลังใจที่จะทำกิจกรรมนั้นๆ
4. ร่วมร้องเพลงกับเด็ก เพื่อฝึกทักษะการพูด การฟัง การอ่าน แต่เพลงนั้นต้องเป็นเพลงสั้นๆ ได้ใจความ เช่น เพลงที่เป็นคำคล้องจอง เพลง เพลงลูกเป็ด5ตัว
5.ให้ท่านเลือกกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาที่ท่านชอบที่สุดพร้อมให้เหตุผล ชื่อ วัตถุประสงค์ กิจกรรม ประเมินผล
~ กิจกรรม คือ เอะ เอะ เสียงอะไรหว่า เสียงประกาศ
~ วัตถุประสงค์
1. เพื่อต้องการให้เด็กได้เข้าใจภาษาที่มีหลายรูปแบบ
2. เพื่อต้องการให้เด็กได้ทักษะการฟังจากเสียงที่ได้ยิน
3. เพื่อต้องการให้เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมกับผู้อื่น
~ กิจกรรม
นำเสียงประกาศต่างๆมาให้เด็กฟัง เช่น น้องอนุบาล2กลับได้ค่ะ, น้องอนุบาล2นำชุดว่ายน้ำมาโรงเรียนด้วยค่ะ เป็นต้น
หลังจากนั้น เปิดให้เด็กฟังที่ละประกาศ แล้วตั้งคำถามถาม
เชิญชวนให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมโดยให้พูดเสียงประกาศตามจินตนาการของเด็ก
~ ประเมินผล
จากการได้ทำกิจกรรม เด็กให้ความร่วมมือกันดีมาก ตั้งใจฟัง และตอบคำถามกัน แต่เด็กบ้างคนก็จะไม่พูดอะไรบ้างคนก็ไม่ร่วมกิจกรรม แต่ส่วนใหญ่ก็ให้ความร่วมมือกันดี เด็กๆมีความคิดตามจินตนาการของตัวเอง และทักษะการฟังพูดก็ดี
~ เหตุผล
เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ไม่น่าเบื่อ นำเสียงต่างๆมาให้เด็กฟังเด็กก็จะเกิดความสงสัย อยากรู้อยากเห็น แต่เสียงที่นำมานั้นต้องเหมาะสม ชัดเจนกับเด็ก
วันพุธที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2553
ข้อสอบปลายภาค จงตอบคำถามต่อไปนี้ วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย (วันที่3/03/2553)
วันจันทร์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่10(ครั้งสุดท้าย)
จากการที่ได้เรียนวิชานี้ได้รับความรู้มากมายและได้ปฏิบัติงานจริงสิ่งนี้เป็นสิ่งที่ดีมาก
เพราะว่าถ้าเราไม่ลงงานจริง จะไม่รู้เลยว่า เด็กอนุบาลคิดอย่างไรอยากเรียนรู้สิ่งใดมากกว่า
จากที่ได้ไปจัดกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตครั้งนั้นทำให้รู้ว่าเด็กจะชอบให้เล่านิทานมากกว่า
ซึ่งกิจกรรมเรานำสิ่งที่แปลกใหม่ก็จริงแต่มันไม่ค่อดึงดูดเด็ฏเท่าไรหนัก เพราะว่าเด็กจะชอบภาพสีสวยๆ ซึ่งจะดีมากถ้ามีภาพประกอบกับเสียง
นอกจากนั้น ยังได้เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆและรู้จักนำสื่อการเรียนรู้ในวิชานี้เข้าไปทรอดแทรกในเทคโนโลยีได้เป็นอย่างดี และสามารถเข้าไปเรียนรู้เนื้อหาในบล็อกของตัวเองได้
เพราะว่าถ้าเราไม่ลงงานจริง จะไม่รู้เลยว่า เด็กอนุบาลคิดอย่างไรอยากเรียนรู้สิ่งใดมากกว่า
จากที่ได้ไปจัดกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตครั้งนั้นทำให้รู้ว่าเด็กจะชอบให้เล่านิทานมากกว่า
ซึ่งกิจกรรมเรานำสิ่งที่แปลกใหม่ก็จริงแต่มันไม่ค่อดึงดูดเด็ฏเท่าไรหนัก เพราะว่าเด็กจะชอบภาพสีสวยๆ ซึ่งจะดีมากถ้ามีภาพประกอบกับเสียง
นอกจากนั้น ยังได้เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆและรู้จักนำสื่อการเรียนรู้ในวิชานี้เข้าไปทรอดแทรกในเทคโนโลยีได้เป็นอย่างดี และสามารถเข้าไปเรียนรู้เนื้อหาในบล็อกของตัวเองได้
วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่9
- อาจารย์ให้ทุกคนเล่านิทานเรื่องแม่ไก่สีแดง คนละ 1 ประโยค
- ส่งงาน
- อาจารย์วิเคราะห์งาน ว่า ต้องหานิทานที่ใกล้ตัวเด็ก เด็กเคยเห็น
- อาจารย์ให้นักศึกษาทำมายแม้พในโปรแกรมพิวเตอร์ ในเรื่องที่หามา แล้วเอาลงบล็อก
- ให้หาวิจัยแล้วลิงห์ไปที่บล็อกของตัวเอง
- ลิงแนวการสอนของวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กเก็บไว้ในบล็อก
- จัดแต่งบล็อกให้เรียบร้อย
งาน
อาจารย์สั่งงาน ให้ทำมายแม็พ เรื่องอะไรก็ได้ แล้วหานิทานและเพลงที่สอดคล้องกับมายแม็พ
อ่านนิทานแม่ไก่แดง เป็นกลุ่ม
อ่านนิทานแม่ไก่แดง เป็นกลุ่ม
วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่8
วันนี้ย้ายมาเรียนที่ห้อง 236 เนื่องจาก 238
มีการอบรมอาจารย์พูดเกี่ยวกับภาษา ได้แก่ ฟัง พูด อ่าน เขียนและการจัดสภาพแวดล้อม
ดังนี้1.จัดแล้วเต็มไปด้วยภาษา เช่น ชื่อมุม ปฏิทิน สมาชิกในห้อง
สิ่งที่ตอบสนองแก่เด็กให้เด็กได้เห็นให้เด็กเกิดการเรียนรู้
2.ผ่านตัวอย่าง ครูต้องสาธิตให้เด็กดู
3.ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับวัย เช่น เปิดเทปให้เด็กฟัง โดยวางที่มุมนิทาน
4.เรียนรู้โดยการรับผิดชอบด้วยกัน
5.ได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติเกิดความกระตือรือร้น
6.เปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลองจากนั้นเพื่อนก็นำเสนองานที่ไปโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมกลุ่มที่-เล่านิทานจากภาพ-เล่านิทานให้เด็กรู้จักพยัญชนะต้น สระ-การปฏิบัติตามคำสั่งบรรยากาศในห้องเรียน
มีการอบรมอาจารย์พูดเกี่ยวกับภาษา ได้แก่ ฟัง พูด อ่าน เขียนและการจัดสภาพแวดล้อม
ดังนี้1.จัดแล้วเต็มไปด้วยภาษา เช่น ชื่อมุม ปฏิทิน สมาชิกในห้อง
สิ่งที่ตอบสนองแก่เด็กให้เด็กได้เห็นให้เด็กเกิดการเรียนรู้
2.ผ่านตัวอย่าง ครูต้องสาธิตให้เด็กดู
3.ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับวัย เช่น เปิดเทปให้เด็กฟัง โดยวางที่มุมนิทาน
4.เรียนรู้โดยการรับผิดชอบด้วยกัน
5.ได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติเกิดความกระตือรือร้น
6.เปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลองจากนั้นเพื่อนก็นำเสนองานที่ไปโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมกลุ่มที่-เล่านิทานจากภาพ-เล่านิทานให้เด็กรู้จักพยัญชนะต้น สระ-การปฏิบัติตามคำสั่งบรรยากาศในห้องเรียน
บันทึกครั้งที่7
รายงานผลจากการไป ร.ร สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษมสรุป
จากการฟังคำบรรยายทั้ง 3กลุ่ม
เล่าการดำเนินกิจกรรมที่ไปลงสังเกตเด็ก ที่มีรูปแบบเดียวกัน ลักษณะกิจกรรมที่มีการใช้สื่อเครื่องเทปบันทึกเสียงต่างๆให้เด็กฟังและพูดตามเสียงนั้น และการฟังเพลงบรรเลงแล้วให้ลากเส้นตามเสียงที่ได้ยินเล่านิทานผ่านเสียงบันทึก เด็กจะมีพฤติกรรมที่ชัดเจนคือ เด็กเขินอายเป็นเพราะเด็กไม่คุ้ยเคยกัยผู้ที่จัดกิจกรรม และเด็กไม่ตอบคำถามที่ผู้จักถามเด็ก แต่เด็กบ้างคนพูดก่อนผู้จัดถาม และตอบได้ดีเวลาถามเด็ก
จากการฟังคำบรรยายทั้ง 3กลุ่ม
เล่าการดำเนินกิจกรรมที่ไปลงสังเกตเด็ก ที่มีรูปแบบเดียวกัน ลักษณะกิจกรรมที่มีการใช้สื่อเครื่องเทปบันทึกเสียงต่างๆให้เด็กฟังและพูดตามเสียงนั้น และการฟังเพลงบรรเลงแล้วให้ลากเส้นตามเสียงที่ได้ยินเล่านิทานผ่านเสียงบันทึก เด็กจะมีพฤติกรรมที่ชัดเจนคือ เด็กเขินอายเป็นเพราะเด็กไม่คุ้ยเคยกัยผู้ที่จัดกิจกรรม และเด็กไม่ตอบคำถามที่ผู้จักถามเด็ก แต่เด็กบ้างคนพูดก่อนผู้จัดถาม และตอบได้ดีเวลาถามเด็ก
บันทึกครั้งที่6
วันนี้อาจารย์ตรวจนิทานเกี่ยวกับการตั้งคำถามแล้วให้ทายเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเด็กและให้เด็กสามารถมองเห็นภาพที่ชัดเจนสามารถให้เด็กทายนิทานที่เราตั้งให้ถูก การเลือกใช้พื้นหลังสีไม่ชูดชาด
วันนี้อาจารย์ตรวจนิทานเกี่ยวกับการตั้งคำถามแล้วให้ทายเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเด็กและให้เด็กสามารถมองเห็นภาพที่ชัดเจนสามารถให้เด็กทายนิทานที่เราตั้งให้ถูก การเลือกใช้พื้นหลังสีไม่ชูดชาด
บันทึกครั้งที่5
จัดกลุ่มทำกิจกรรมเกี่ยวกับการสังเกตพฤติกรรมของเด็กอ่านนิทาน อัดเสียงฟังเด็กฟัง การฟังเพลง สิ่งของที่ชอบมากที่สุดหลักการสำคัญในการเล่านิทาน
1.การเลือกหนังสือ
2.การตั้งคำถามเด็ก
1.การเลือกหนังสือ
2.การตั้งคำถามเด็ก
ต่อจากอาทิตนืที่แล้ว
บันทึกครั้งที่ 4
สิ่งที่ได้รับจากที่เพื่อนนำเสนองานเรื่อง
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กการจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก
ทำให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้สอดคล้องกับพัฒนาการ
เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านการฟัง พูด อ่าน เขียนและต้องผ่านการลงมือกระทำ ทดลอง ปฏิบัติจริง บนพื้นฐานอย่างอิสระบรรยากาศในการเรียน
1.เพื่อนนำเสนองานบางครั้งอธิบายไม่เข้าใจ
2.เพื่อนนำเสนอพูดน้ำเสียงยังไม่ชัดเจน คำควบกล้ำ
3..อากาศในห้องเรียนเย็น
สิ่งที่ได้รับจากที่เพื่อนนำเสนองานเรื่อง
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กการจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก
ทำให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้สอดคล้องกับพัฒนาการ
เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านการฟัง พูด อ่าน เขียนและต้องผ่านการลงมือกระทำ ทดลอง ปฏิบัติจริง บนพื้นฐานอย่างอิสระบรรยากาศในการเรียน
1.เพื่อนนำเสนองานบางครั้งอธิบายไม่เข้าใจ
2.เพื่อนนำเสนอพูดน้ำเสียงยังไม่ชัดเจน คำควบกล้ำ
3..อากาศในห้องเรียนเย็น
วันที่ 4/01/2553 บันทึกครั้งที่3
วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2552
บันทึกครั้งที่ 3
กลุ่ม 1 เรื่อง ความหมายของภาษาภาษาเป็นสิ่งจำเป็นในการถ่ายทอดวัฒนธรรม ซึ่งภาษาได้แก่การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน นอกจากนี้ท่าทางหรือสัญลักษณ์ยังเป็นภาษา ซึ่งมีผู้ส่งสารและผู้รับสารต้องเข้าใจความหมายตรงกัน
บันทึกครั้งที่ 3
กลุ่ม 1 เรื่อง ความหมายของภาษาภาษาเป็นสิ่งจำเป็นในการถ่ายทอดวัฒนธรรม ซึ่งภาษาได้แก่การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน นอกจากนี้ท่าทางหรือสัญลักษณ์ยังเป็นภาษา ซึ่งมีผู้ส่งสารและผู้รับสารต้องเข้าใจความหมายตรงกัน
กลุ่ม 2 เรื่อง ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาทฤษฎีของเพียเจต์ คือการเรียนรู้ของเด็กเป็นกระบวนการทำงานของระบบประสาท เรียกว่า"ปฏิบัติการ"ทฤษฎีของบรูเนอร์ เป็นการเรียนรู้จากการทำกิจกรรมผ่านทางสมอง
กลุ่ม 3 เรื่อง จิตวิทยาการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่มีความสำคัญและจำเป็นในการดำรงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย ดัง "สิ่งที่ทำให้คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา
องค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้
1. แรงขับ เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล
2. สิ่งเร้า เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ
3. การตอบสนอง เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า
4. การเสริมแรง เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น
กลุ่ม 4 เรื่อง แนวคิดนักการศึกษาการสอนภาษาแบบองค์รวม คือการสอนที่เป็นไปตามธรรมชาติ เน้นสื่อที่มีความหมาย ประสบการณ์เดิมหลักการอ่านและเขียนภาษาแบบองค์รวม
1.ผู้อ่านต้องต้องเก็บข้อมูลและทำความเข้าใจความหมายข้อความที่อ่าน
2.กระบวนการอ่านต้องเชื่อมโยงกับรูปภาพที่เด็กเห็น
3.การเขียนจะเน้นความสัมพันธ์นักทฤษฎีดิวอี้ เกิดจากประสบการณ์การลงมือกระทำไวกอตสกี การเรียนรู้จาการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลใกล้เคียงฮอลลิเดย์ สถานการณ์ในสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อภาษาสำหรับเด็ก
กลุ่ม 5 เรื่อง การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กหลักการจัดการเรียนรู้ทำให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับพัฒนาการ เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านการฟัง พูด อ่าน เขียนและต้องผ่านการลงมือกระทำ ทดลอง ปฏิบัติจริง บนพื้นฐานอย่างอิสระ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)